Search
Close this search box.

“น้ำพุโมเดล” ชุมชนต้นแบบด้านการจัดการพืชกระท่อมโดยตนเอง

“กระท่อมเป็น ยาไม่ใช่สิ่งเสพติดที่นี่ ต.น้ำพุ อ.บ้านนาสาร จ.สุราษฎร์ธานี ชุมชนที่ยืนยันว่าพืชกระท่อมเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต เป็นยาสมุนไพรรักษาโรคสารพัด และพันธุ์พืชสำคัญทางพิธีกรรมความเชื่อ ไม่ใช่สิ่งเสพติดทำลายชีวิตลองมาเปิดใจฟังมุมมองของชาวบ้าน พร้อมติดตามการขับเคลื่อนให้ชุมชนแห่งนี้กลายเป็นพื้นที่แรกที่สามารถใช้พืชกระท่อมได้โดยไม่ผิดกฎหมาย และชุมชนต้นแบบด้านการจัดการพืชกระท่อมโดยตนเอง

Read More »

การจัดประชุมชี้แจงและเตรียมความพร้อมสำหรับการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ และผู้ให้คำปรึกษาด้านจิตสังคมที่เปิดบริการคลินิกให้คำปรึกษาในระบบศาล

เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2565 ได้มีการจัดประชุมชี้แจงและเตรียมความพร้อมสำหรับการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ และผู้ให้คำปรึกษาด้านจิตสังคมที่เปิดบริการคลินิกให้คำปรึกษาในระบบศาล ผ่านระบบออนไลน์ โดยมี นายชาติวุฒิ วังวล ผู้อำนวยการสำนัก 2 สำนักสนับสนุนการควบคุมปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ สสส. มาเป็นประธานในพิธีเปิดการประชุม ซึ่งการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการฯ จะดำเนินการในช่วงเดือน พฤษภาคม-สิงหาคม 2565 สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ศูนย์วิชาการสารเสพติดภาคเหนือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ nsaccmu@gmail.com สนับสนุนการจัดอบรมโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

Read More »

การสัมมนาโต๊ะวิชาการสารเสพติดภาคเหนือ ครั้งที่ 5

วันที่ 30 พฤษภาคม 2566 ศูนย์วิชาการสารเสพติดภาคเหนือจัดการสัมมนาโต๊ะวิชาการสารเสพติดภาคเหนือ ครั้งที่ 5 เรื่อง การพัฒนาเครือข่ายภาคีวิชาการภาคเหนือตอนบน “สถานการณ์ทางสังคมบริบทภาคเหนือตอนบน ที่ส่งผลต่อปัญหาสารเสพติดในทัศนะของสถาบันการศึกษา และนักวิชาการ” ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงยุติธรรม โดยมี ผศ.ดร.นพ.อภินันท์ อร่ามรัตน์ ผู้อำนวยการศูนย์วิชาการสารเสพติดภาคเหนือ เป็นประธานการสัมมนาและให้เกียรติร่วมเสวนาร่วมกับนักวิชาการจากหลากหลายหน่วยงาน ณ ห้องประชุมฝ้ายคำ ชั้น 1 Green Nimman

Read More »

การจัดกิจกรรมประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อพัฒนาโครงการการสร้างพื้นที่ตัวแบบ Model Development ครั้งที่ 1

“พื้นที่ปลอดภัย คือพื้นที่ที่มีการจัดความสัมพันธ์แบบเพื่อน การเคารพคนอื่น เพราะทุกคนมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เท่ากัน” การสร้างพื้นที่ตัวแบบ ภายใต้แนวคิดพื้นที่ปลอดภัย จึงเป็นการปรับ Mindset ของคนทำงาน เน้นแก้ไขที่ตัวคน ไม่ใช่ที่ตัวยา แม้ไม่สามารถทำให้ปลอดยาเสพติดได้ แต่ทุกคนในพื้นที่รู้สึกปลอดภัย ลดปัญหาการยกระดับพฤติกรรมของเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยง ขับเคลื่อนงานผ่านมุมมองปัญหาที่หลากมิติหลุดออกจากกรอบแนวคิดเดิมๆ วันที่หนึ่งของการจัดกิจกรรมประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อพัฒนาโครงการการสร้างพื้นที่ตัวแบบ Model Development ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 27 – 28 ตุลาคม

Read More »

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save